หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ความสัมพันธ์ (Relation)



 ความสัมพันธ์ (Relation) 


ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian product) คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นคู่อันดับ โดยสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับมาจากเซตหน้าเครื่องหมายคูณ และสมาชิกตัวหลังมาจากเซตหลังเครื่องหมายคูณ เช่น

ให้ A
=--
{ 1, 2, 3 } และ B
=---
{ a , b }-------------------
A × B
=--
{(1, a ), (1, b ), (2, a ), (2 , b ), (3, a ), (3, b )}
เรียก A × B ว่า ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต A และ B
นั่นคือ A × B
=--
{( x , y )  x  A และ y  B}
หรือ B × A = {(y, x)  y  B และ x  A}

ข้อสังเกต ผลคูณคาร์ทีเชียนระหว่าง Ø กับ เซตใดๆ ก็ตาม จะเท่ากับ Ø

Ø × A=A × Ø=Ø
และ
A × BB × A
ยกเว้น1)A = B
หรือ
2)A หรือ B เท่ากับ Ø

ถ้าให้Aมีจำนวนสมาชิก=n(A)=aสมาชิก
 Bมีจำนวนสมาชิก=n(B)=bสมาชิก
จะได้n(A × B)=n(A) • n(B)=a • b=ab
 n(B × A)=n(B) • n(A)=b • a=ba
 n(A × A)=n(A) • n(A)=a • a=a2
 
////n(A × B)///////=n(B × A)////
    

ให้
Aเป็นเซตใดๆ ซึ่งn(A)=a
 Bเป็นเซตใดๆ ซึ่งn(B)=b
จำนวนสับเซตของ
A × B
มีทั้งหมด=2abสับเซต
จำนวนสับเซตของ
B × A
มีทั้งหมด=2baสับเซต
จำนวนสับเซตของ
A × A
มีทั้งหมด=2a2สับเซต
จำนวนสับเซตของ
B × B
มีทั้งหมด=2b2สับเซต

สรุป
 ถ้า A และ B เป็นเซตจำกัดใดๆ
จำนวนสับเซตของ A × B = 2n(A × B) สับเซต

ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต เมื่อ A, B, C เป็นเซตใดๆ

 
A × (B ∩ C)
=
(A × B) ∩ (A × C)
 
A × (B  C)
=
(A × B)  (A × C)
 
A × (B - C)
=
(A × B) - (A × C)
แต่
A ∩ (B × C)
(A ∩ B) × (A ∩ C)
A - (B × C)
(A - B) × (A - C)

การหาจำนวนสมาชิกของ A × B
1.n[(A × A) ∩ (B × B)]=[n(A ∩ B)]2
2.n[(A × A)  (B × B)]=n(A × A) + n(B × B) - [n(A ∩ B)]2
3.n[(A × B) ∩ (B × A)]=[n(A ∩ B)]2
4.n[(A × B)  (B × A)]=n(A × B) + n(B × A) - [n(A ∩ B)]2


นิยาม ความสัมพันธ์คือ เซตของคู่อันดับ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r 
จะได้ว่า
1.
r
เป็นความสัมพันธ์ของ - A - ไป - B - ก็ต่อเมื่อ --  A × B
2.
r
เป็นความสัมพันธ์ใน - A - ก็ต่อเมื่อ -  A × A
3.
Ø
เป็นความสัมพันธ์
4.ถ้า n (A ) = m และ n (B ) = n แล้ว เราจะได้จำนวนความสัมพันธ์ทั้งหมด จาก A ไป B
เท่ากับ 2mn ความสัมพันธ์

โดเมนและเรนจ์ 

    โดเมน (Domain) หมายถึง เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r ใช้สัญลักษณ์ Dr

    เรนจ์ (Range) หมายถึง เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r ใช้สัญลักษณ์ Rr

    เช่น
    r
    =
    { (1, 2), (2, 4), (3, 6), (4, 8), (5, 10)}
    Dr
    =
    { 1, 2, 3, 4, 5}
    Rr
    =
    { 2, 4, 6, 8, 10}

    สามารถเขียนในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกได้ดังนี้
    Dr
    =
    {x  (x , y )  r}
    Rr
    =
    {y  (x , y )  r}

วิธีการหาโดเมนและเรนจ์
    1. ไม่ว่าเซตแบบแจกแจงหรือแบบบอกเงื่อนไขที่แจกแจงได้ ให้ทำเป็นเซตแบบแจกแจงก่อน เพื่อความง่ายในการพิจารณา
      • ค่าของโดเมน ให้ดูที่สมาชิกตัวหน้าของทุกคู่ในในอันดับความสัมพันธ์ r

      • ค่าของเรนจ์ ให้ดูที่สมาชิกตัวหลังของทุกคู่ในในอันดับความสัมพันธ์ r

    2. ถ้าเป็นเซตแบบเงื่อนไข สามารถทำได้อีกวิธีหนึ่ง คือ
      • ค่าของโดเมน คือ จัด y ให้อยู่ในรูปของ x แล้วหาค่า x ที่ทำให้ y เป็นจริงตามเงื่อนไข

      • ค่าของเรนจ์ คือ จัด x ให้อยู่ในรูปของ y แล้วหาค่า y ที่ทำให้ x เป็นจริงตามเงื่อนไข

    3. ถ้าเป็นเซตที่อยู่ในเงื่อนไขในรูปกรณฑ์อันดับคู่

      เช่น  เมื่อ x เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนคู่บวก

      ------------จะหาค่าได้เมื่อ x ≥ 0

    4. ถ้าเป็นเซตที่อยู่ในเงื่อนไขในรูปกราฟของความสัมพันธ์
      • ค่าของโดเมน คือ ค่า x ทั้งหมดบนแกน x ที่ใช้ในการเขียนกราฟ

      • ค่าของเรนจ์ คือ ค่า y ทั้งหมดบนแกน y ที่ใช้ในการเขียนกราฟ

อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ใช้สัญลักษณ์ r-1
ถ้าให้
r
เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
จะได้
r-1
เป็นความสัมพันธ์จาก B ไป A
นั่นคือ
r-1
=
{(y , x )  (x , y )  r}

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น