หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

อัตราส่วนตรีโกณมิติ


แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โครงการเรียนภาคฤดูร้อน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม)
ปีการศึกษา 2553

วันอาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ความสัมพันธ์ (Relation)



 ความสัมพันธ์ (Relation) 


ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian product) คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นคู่อันดับ โดยสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับมาจากเซตหน้าเครื่องหมายคูณ และสมาชิกตัวหลังมาจากเซตหลังเครื่องหมายคูณ เช่น

ให้ A
=--
{ 1, 2, 3 } และ B
=---
{ a , b }-------------------
A × B
=--
{(1, a ), (1, b ), (2, a ), (2 , b ), (3, a ), (3, b )}
เรียก A × B ว่า ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต A และ B
นั่นคือ A × B
=--
{( x , y )  x  A และ y  B}
หรือ B × A = {(y, x)  y  B และ x  A}

ข้อสังเกต ผลคูณคาร์ทีเชียนระหว่าง Ø กับ เซตใดๆ ก็ตาม จะเท่ากับ Ø

Ø × A=A × Ø=Ø
และ
A × BB × A
ยกเว้น1)A = B
หรือ
2)A หรือ B เท่ากับ Ø

ถ้าให้Aมีจำนวนสมาชิก=n(A)=aสมาชิก
 Bมีจำนวนสมาชิก=n(B)=bสมาชิก
จะได้n(A × B)=n(A) • n(B)=a • b=ab
 n(B × A)=n(B) • n(A)=b • a=ba
 n(A × A)=n(A) • n(A)=a • a=a2
 
////n(A × B)///////=n(B × A)////
    

ให้
Aเป็นเซตใดๆ ซึ่งn(A)=a
 Bเป็นเซตใดๆ ซึ่งn(B)=b
จำนวนสับเซตของ
A × B
มีทั้งหมด=2abสับเซต
จำนวนสับเซตของ
B × A
มีทั้งหมด=2baสับเซต
จำนวนสับเซตของ
A × A
มีทั้งหมด=2a2สับเซต
จำนวนสับเซตของ
B × B
มีทั้งหมด=2b2สับเซต

สรุป
 ถ้า A และ B เป็นเซตจำกัดใดๆ
จำนวนสับเซตของ A × B = 2n(A × B) สับเซต

ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต เมื่อ A, B, C เป็นเซตใดๆ

 
A × (B ∩ C)
=
(A × B) ∩ (A × C)
 
A × (B  C)
=
(A × B)  (A × C)
 
A × (B - C)
=
(A × B) - (A × C)
แต่
A ∩ (B × C)
(A ∩ B) × (A ∩ C)
A - (B × C)
(A - B) × (A - C)

การหาจำนวนสมาชิกของ A × B
1.n[(A × A) ∩ (B × B)]=[n(A ∩ B)]2
2.n[(A × A)  (B × B)]=n(A × A) + n(B × B) - [n(A ∩ B)]2
3.n[(A × B) ∩ (B × A)]=[n(A ∩ B)]2
4.n[(A × B)  (B × A)]=n(A × B) + n(B × A) - [n(A ∩ B)]2


นิยาม ความสัมพันธ์คือ เซตของคู่อันดับ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r 
จะได้ว่า
1.
r
เป็นความสัมพันธ์ของ - A - ไป - B - ก็ต่อเมื่อ --  A × B
2.
r
เป็นความสัมพันธ์ใน - A - ก็ต่อเมื่อ -  A × A
3.
Ø
เป็นความสัมพันธ์
4.ถ้า n (A ) = m และ n (B ) = n แล้ว เราจะได้จำนวนความสัมพันธ์ทั้งหมด จาก A ไป B
เท่ากับ 2mn ความสัมพันธ์

โดเมนและเรนจ์ 

    โดเมน (Domain) หมายถึง เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r ใช้สัญลักษณ์ Dr

    เรนจ์ (Range) หมายถึง เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r ใช้สัญลักษณ์ Rr

    เช่น
    r
    =
    { (1, 2), (2, 4), (3, 6), (4, 8), (5, 10)}
    Dr
    =
    { 1, 2, 3, 4, 5}
    Rr
    =
    { 2, 4, 6, 8, 10}

    สามารถเขียนในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกได้ดังนี้
    Dr
    =
    {x  (x , y )  r}
    Rr
    =
    {y  (x , y )  r}

วิธีการหาโดเมนและเรนจ์
    1. ไม่ว่าเซตแบบแจกแจงหรือแบบบอกเงื่อนไขที่แจกแจงได้ ให้ทำเป็นเซตแบบแจกแจงก่อน เพื่อความง่ายในการพิจารณา
      • ค่าของโดเมน ให้ดูที่สมาชิกตัวหน้าของทุกคู่ในในอันดับความสัมพันธ์ r

      • ค่าของเรนจ์ ให้ดูที่สมาชิกตัวหลังของทุกคู่ในในอันดับความสัมพันธ์ r

    2. ถ้าเป็นเซตแบบเงื่อนไข สามารถทำได้อีกวิธีหนึ่ง คือ
      • ค่าของโดเมน คือ จัด y ให้อยู่ในรูปของ x แล้วหาค่า x ที่ทำให้ y เป็นจริงตามเงื่อนไข

      • ค่าของเรนจ์ คือ จัด x ให้อยู่ในรูปของ y แล้วหาค่า y ที่ทำให้ x เป็นจริงตามเงื่อนไข

    3. ถ้าเป็นเซตที่อยู่ในเงื่อนไขในรูปกรณฑ์อันดับคู่

      เช่น  เมื่อ x เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนคู่บวก

      ------------จะหาค่าได้เมื่อ x ≥ 0

    4. ถ้าเป็นเซตที่อยู่ในเงื่อนไขในรูปกราฟของความสัมพันธ์
      • ค่าของโดเมน คือ ค่า x ทั้งหมดบนแกน x ที่ใช้ในการเขียนกราฟ

      • ค่าของเรนจ์ คือ ค่า y ทั้งหมดบนแกน y ที่ใช้ในการเขียนกราฟ

อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ใช้สัญลักษณ์ r-1
ถ้าให้
r
เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
จะได้
r-1
เป็นความสัมพันธ์จาก B ไป A
นั่นคือ
r-1
=
{(y , x )  (x , y )  r}

ประเภทของฟังก์ชัน (Kind of Function)


ฟังก์ชัน (Function)


ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ที่สมาชิกในโดเมนแต่ละตัวจับคู่กับสมาชิกของเรนจ์ของความสัมพันธ์เพียงตัวเดียวเท่านั้น


 ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของฟังก์ชัน

  • ถ้า f เป็นฟังก์ชัน และ (x, y)  f แล้ว y เป็นค่าของฟังก์ชัน f ที่ x

    ---------เขียนแทนด้วย ƒ(x) ดังนั้น จะได้ y = ƒ(x)

  • ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดโดเมนของฟังก์ชัน ให้ถือว่า โดเมนของฟังก์ชันเป็นเซตของจำนวนจริงหรือสับเซตของจำนวนจริง

 การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน

เนื่องจากฟังก์ชันเป็นความสัมพันธ์ ในการหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันจึงใช้หลักการเดียวกันกับการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์



ฟังก์ชันเชิงเส้น

    ฟังก์ชันเชิงเส้น n ตัวแปร มีรูปทั่วไป คือ y = a1x1 + a2x2 + a3x3 +… + anxn

    หรือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax + b เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริง และ a ≠ 0 มีกราฟเป็นเส้นตรง

 ฟังก์ชันกำลังสอง

ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูปของ y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ a ≠ 0

สัญลักษณ์กราฟของฟังก์ชัน ขึ้นอยู่กับค่าของ a, b และ c ถ้า a > 0 จะได้กราฟหงาย แต่ถ้า a < 0 จะได้กราฟคว่ำ

เราสามารถหาคำตอบของสมการโดยใช้กราฟ นั่นคือ การหาจุดที่กราฟตัดแกน x หรือกราฟที่ทำให้ค่า y = 0


การแก้สมการกำลังสองโดยใช้กราฟ
    1. กรณีที่กราฟไม่ตัดแกน x จะไม่มีคำตอบของสมการที่เป็นจำนวนจริง
      เช่น
      y
      =
      --ax2 + c
      เมื่อ
      a > 0
      และ
      c > 0
      y
      =
      --ax2 + c
      เมื่อ
      a < 0
      และ
      c < 0
      y
      =
      --a (x – h )2 + k
      เมื่อ
      a > 0
      และ
      k > 0
      y
      =
      --a (x – h )2 + k
      เมื่อ
      a < 0
      และ
      k < 0

    2. กรณีที่กราฟตัดแกน x เพียงจุดเดียว จะมีคำตอบของสมการที่เป็นจำนวนจริงเพียง 1 จำนวน

      ------------นั่นคือ กราฟของสมการ y = a(x - h)2

    3. กรณีที่กราฟตัดแกน x สองจุด จะมีคำตอบของสมการที่เป็นจริง 2 จำนวน

      ----------นั่นคือ กราฟของสมการ y = a(x - h)2 + k เมื่อ a > 0 และ k < 0

      --------------------หรือ---------- y = a(x - h)2 + k เมื่อ a < 0 และ k > 0

การแก้อสมการกำลังสองโดยใช้กราฟ
อสมการกำลังสองมีด้วยกัน 4 รูป คือ
ax2 + bx + c < 0
ax2 + bx + c ≤ 0
ax2 + bx + c > 0
ax2 + bx + c ≥ 0
วิธีการแก้อสมการเพื่อหาคำตอบนั้นทำได้โดยพิจารณากราฟของ y = ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 ดังนั้น
    1. หาจุดบนกราฟที่ทำให้ y = 0 หรือหาจุดที่กราฟตัดแกน x

    2. กรณีที่ ax2 + bx + c < 0 ให้หาค่าของ y < 0 (กราฟจะอยู่ใต้แกน x)

    3. กรณีที่ ax2 + bx + c > 0 ให้หาค่าของ y > 0 (กราฟจะอยู่เหนือแกน x)

 ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล

ในที่นี้จะเป็นฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลพื้นฐานเบื้องต้นที่อยู่ในรูปของ y = ax เมื่อ a > 0 และ a ≠ 1

จากสมการ y = ax จะได้
  1. กราฟของฟังก์ชันจะผ่านจุด (0, 1) เสมอ เพราะ a0 = 1

  2. ถ้า a > 1 เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าเพิ่มขึ้น

  3. ถ้า 0 < a < 1 เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น y จะมีค่าลดลง

  4. โดเมนของฟังก์ชัน คือ เซตของจำนวนจริง

  5. เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ เซตของจำนวนจริงที่มากกว่าศูนย์

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

ในที่นี้จะหมายถึง ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ที่อยู่ในรูปของ y =  x – a  + c เมื่อ a และ c เป็นจำนวนจริง

การหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

    • เมื่อ x = 0 ค่าของ y จะเท่ากับศูนย์


    • เมื่อ x > 0 และ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่าของ y จะเพิ่มขึ้นและเป็นจำนวนบวก


    • เมื่อ x < 0 และ x มีค่าน้อยลง ค่าของ y จะเพิ่มขึ้นและเป็นจำนวนบวก

    ดังนั้น Dƒ = {x  x  R}

    -------Rƒ = {y  y R และ y ≥ 0}

 ฟังก์ชันขั้นบันได

ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึงฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง และมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได

ตัวอย่างของฟังก์ชันขั้นบันไดที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน ได้แก่ อัตราค่าบริการไปรษณีย์ประเภทต่างๆ เช่น จดหมาย พัสดุไปรษณีย์ เป็นต้น

วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ฟังก์ชันกำลังสอง

1.3  ฟังก์ชันกำลังสอง
1.3.1  กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
           ฟังก์ชันกำลังสอง  คือ  ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป  เมื่อ  a,b,c  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  และเมื่อค่าของ  เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ 
ดังรูป
                                
                                             จากรูปจะเห็นว่า  ถ้า  a > 0  กราฟเป็นเส้นโค้งหงายขึ้น
                                                                                   a < 0  กราฟเป็นเส้นโค้งคว่ำลง
                                            กราฟของฟังก์ชันกำลังสองในรูปนี้มีชื่อว่า  พาราโบลา

ตัวอย่าง  1              จงเขียนกราฟของฟังก์ชันกำลังสองต่อไปนี้
วิธีทำ
       1)  2)   
3)    4)     
5)    6)